นางสาววิลาวัลย์ รักษาธรรม
|
|
ประเภทนวัตกรรม
การบริหารจัดการ
ปีที่พัฒนา
2563
ชื่อผู้พัฒนา
นางสาววิลาวัลย์ รักษาธรรม
หน่วยงาน
โรงเรียนบ้านโคกหัวช้าง สังกัด สพป.บุรีรัมย์ เขต 1
แนวคิด มมโนทัศน์ หรือสาระสำคัญ
การประเมินโครงการคุณธรรมนำความรู้สู่ความดีของโรงเรียนบ้านโคกหัวช้าง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 โดยใช้รูปแบบการประเมินผลโครงการแบบซิป (CIPP Model) ตามแนวคิดของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) ซึ่งมุ่งประเมินองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ
(1) การประเมินบริบทของโครงการ (Context Evaluation)
(2) การประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ (Input Evaluation)
(3) การประเมินกระบวนการของโครงการ (Process Evaluation)
(4) การประเมินผลผลิตของโครงการ (Product Evaluation)
วัตถุประสงค์เฉพาะ
เพื่อประเมินด้านสภาพการดำเนินงานของโครงการคุณธรรมนำความรู้สู่ความดีของโรงเรียนบ้านโคกหัวช้าง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 โดยใช้รูปแบบการประเมินผลโครงการแบบซิป (CIPP Model) ตามแนวคิดของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam)
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมและขั้นตอนในการใช้นวัตกรรม
เครื่องมือที่ใช้ประเมินโครงการ ผู้รายงานได้สร้างและพัฒนาขึ้น คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า
ด้านบริบทมีค่าความเชื่อมั่น .82
ด้านปัจจัยเบื้องต้นมีค่าความเชื่อมั่น .85
ด้านกระบวนการมีค่าความเชื่อมั่น .90
ด้านผลผลิตมีค่าความเชื่อมั่น .94
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
โรงเรียนบ้านโคกหัวช้าง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1
การวัดและประเมินผล
โดยใช้รูปแบบการประเมินผลโครงการแบบซิป (CIPP Model) ตามแนวคิดของ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) ซึ่งมุ่งประเมินองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ
(1) การประเมินบริบทของโครงการ (Context Evaluation)
(2) การประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ (Input Evaluation)
(3) การประเมินกระบวนการของโครงการ (Process Evaluation)
(4) การประเมินผลผลิตของโครงการ (Product Evaluation)
บทบาทศึกษานิเทศก์/บทบาทครู/บทบาทนักเรียน
การประเมินโครงการ
ข้อควรระวัง/ข้อพึงระวัง
-
|
|